วิทยาลัยนวัตกรรม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วิทยาลัยนวัตกรรมเปิดการเรียนการสอนในระดับปริญญาโท และปริญญาตรี ในลักษณะสหวิทยาการที่ผสมผสานองค์ความรู้ทั้งในด้านเศรษฐศาสตร์ กฎหมาย การบริหารจัดการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศิลปะ วัฒนธรรมและการบริการ เพื่อให้ได้มาซึ่งหลักสูตรที่สามารถตอบสนองกับการพัฒนาของสังคมไทยในระดับสากล

เกี่ยวกับวิทยาลัย

นโยบาย / สมรรถนะหลัก

  • กรกฎาคม 2539 – เมษายน 2540 (รักษาการ ผอ.ศูนย์นวัตกรรมฯ)
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์
    M.P.A. (Science & Technology), Harvard University, USA

  • พฤษภาคม 2540 – กรกฎาคม 2541
    รองศาสตราจารย์ ดร. นริศ ชัยสูตร
    Ph.D. Economics, University of Hawaii, USA

  • สิงหาคม 2541 – มีนาคม 2542 (รักษาการ ผอ.วิทยาลัยฯ)
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นพดล อินนา
    Ph.D. Eng. (เกียรตินิยมยอดเยี่ยม), MG- Gill, Canada

  • เมษายน 2542 – สิงหาคม 2542
    รองศาสตราจารย์ ดร. ภาณุพงษ์ นิธิประภา
    Ph.D. Economics, Johns Hopkins University, USA

  • พฤศจิกายน 2542 – ธันวาคม 2546
    ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด
    Ph.D. Construction Management, University of Missouri- Columbia, USA

  • มกราคม 2547 – มิถุนายน 2550
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โกวิท ชาญวิทยาพงศ์
    Ph.D. in Economics (Fellowships), Southern Illinois University at Carbondale, USA

  • กรกฎาคม 2550 – มีนาคม 2551
    รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์
    M.P.A (Public Policy and Management) Harvard University, USA
  • มีนาคม 2551 – กรกฎาคม 2553
    รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์
    M.P.A (Public Policy and Management) Harvard University, U.S.A.

  • สิงหาคม 2553 – กรกฎาคม 2556
    รองศาสตราจารย์ ดร. โกวิท ชาญวิทยาพงศ์
    Ph.D. in Economics (Fellowships), Southern Illinois University at Carbondale, U.S.A.

  • สิงหาคม 2556 – กันยายน 2562
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประวิทย์ เขมะสุนันท์

    Ph.D. (Economics), West Virginia University, U.S.A

  • กันยายน 2562 – ปัจจุบัน
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชยกฤต อัศวธิตานนท์
    Ph.D. (Development Administration), National Institute of Development Administration (NIDA)

ยุทธศาสตร์

เป้าหมายเชิงนโยบาย

วิทยาลัยได้ถ่ายทอดปรัชญาดังกล่าวสู่เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์เพื่อเป็น หลักยึดโยงในการดำเนินภารกิจ ในระหว่างปี 2565-2568 ประกอบด้วยเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 4 ด้านสำคัญ ได้แก่ การเรียนการสอน งานวิจัย บริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้

1) การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม หลักสูตรระยสั้น ที่ตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมายในระดับนานาชาติและสังคมผู้สูงอายุ จัดการเรียนการสอนกับภาคอุตสาหกรรม

2) การพัฒนาองค์กรทั้งด้านกายภาพ และระบบงานดิจิทัลเพื่อนำไปสู่การเป็นองค์กรที่ปฏิบัติงานผ่านระบบอัตโนมัติแบบดิจิทัล ยกระดับการทำงานที่มีประสิทธิภาพ

3) การสร้างการเรียนรู้นอกห้องเรียนสำหรับนักศึกษาและผู้เรียนผ่านกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่หลากหลาย

4) การผลักดันความร่วมมือด้านงานวิจัยร่วมกับต่างประเทศ ขยายกลุ่มเป้าหมายของผู้เรียนในหลักสูตรไปสู่กลุ่มผู้เรียนทั่วโลกด้วยหลักสูตรนานาชาติ

อัตลักษณ์

 “จิตสาธารณะและความรับผิดชอบต่อสังคม”

เอกลักษณ์

 “ความเป็นธรรม”

ค่านิยม

การจัดการเพื่อนวัตกรรม

สมรรถนะหลัก

ขับเคลื่อนภาครัฐและเอกชนด้วยนวัตกรรมทางการจัดการ

หลักสูตรที่สามารถ 
ตอบสนอง 
ช่วยพัฒนา 
สังคมไทยในระดับสากล